





การศึกษาวิจัยการใช้ฮอร์โมนสตรี และผลต่อระบบภูมิคุ้มกันของเยื่อบุทวารหนักในกลุ่มสาวประเภทสอง
Feminizing Hormone therapy and the rectal mucosa immune environment in Transgender Women.

เกี่ยวกับการศึกษาวิจัยนี้
การศึกษาวิจัยการใช้ฮอร์โมนสตรีและผลต่อระบบภูมิคุ้มกันของเยื่อบุทวารหนักในกลุ่มสาวประเภทสอง มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
-
เพื่อทำความเข้าใจว่าฮอร์โมนสตรีเปลี่ยนระบบภูมิคุ้มกันในทวารหนักอย่างไร
-
เพื่อเข้าใจถึงผลกระทบต่อระบบภูมิคุ้มกันในทวารหนักที่แตกต่างกันระหว่างฮอร์โมนสตรีประเภทต่างๆ
-
เพื่อทำความเข้าใจความแตกต่างในการแพร่เชื้อเอชไอวีในทวารหนัก ระหว่างสาวประเภทสองและชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย
-
เพื่อสำรวจความแตกต่างในระบบภูมิคุ้มกันในทวารหนัก ระหว่างสาวประเภทสองในสหรัฐอเมริกาและไทย
การดำเนินการวิจัย


คุณสมบัติผู้เข้าร่วมการวิจัย

-
เป็นชายหรือสาวประเภทสองที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย
-
สัญชาติไทย อายุ 18-59 ปี
-
ไม่ติดเชื้อเอชไอวี
-
มีเพศสัมพันธ์กับชายทางทวารหนักแบบเป็นฝ่ายรับ
กลุ่มที่ 1 สำหรับอาสาสมัครที่ใช้่ฮอร์โมนสตรี ≥ 6 เดือนขึ้นไป
กลุ่มที่ 2 สำหรับอาสาสมัครที่ไม่ได้ใช้่ฮอร์โมนสตรีมาก่อน
กลุ่มที่ 3 สำหรับอาสาสมัครที่ไม่ได้ใช้่ฮอร์โมนสตรีและวางแผนที่จะใช้ฮอร์โมนสตรีในอนาคต

อาสาสมัครที่อยู่ในการศึกษาท่านจะ...
-
ได้รับการตรวจและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้รับคำปรึกษาและตรวจวัดระดับฮอร์โมน (ฟรี)
-
ได้รับค่าเสียเวลาสำหรับการมาเข้าร่วมและรับการติดตามจากโครงการฯ
1,000 บาท ต่อนัดการวิจัย ที่คลินิกชุมชนสีลม @ทรอปเมด
3,000 บาท สำหรับนัดที่มีการเก็บชิ้นเนื้อจากทวารหนัก

ถ้าหากท่านแนะนำเพื่อนที่มีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์ ท่านจะได้รับค่าตอบแทนสำหรับการช่วยแนะนำโครงการจำนวน 300 บาท ต่ออาสาสมัคร 1 คนที่สามารถเข้าร่วมโครงการได้
ติดต่อเรา (Contact)
ผู้ประสานงานประจำสถานที่วิจัย
คุณภูมินทร์ หนองช้าง (เอ็ม)
Line ID: ks_silom
หมายเลขโทรศัพท์ 092-254-7976
หรือ หมายเลขโทรศัพท์ 02-644-6290
คลินิกชุมชนสีลม @ทรอปเมด
ชั้น 12 โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน
Silom Community Clinic @TropMed


คลินิกชุมชนสีลม @ทรอปเมด
Silom Community Clinic @TropMed
ชั้น 12 โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
12 th floor of the Hospital for Tropical Diseases, Ratchawithi Rd., Ratchathewi, Bangkok, 10400